
ปัญหาโรงเรียนสำหรับเด็กดูเหมือนจะครอบงำผู้ปกครอง หากลูกของคุณอ่านและเขียนได้ช้า เขาจะไม่สามารถเรียนรู้ตรงเวลาและเพื่อนๆ หลายคนจะไม่รู้ว่าจะปรับปรุงเขาอย่างไร ดวงรัตน์. Van Kled Keough, กุมารแพทย์, ศูนย์กุมารเวชศาสตร์, โรงพยาบาลนวเวช และเจ้าของเพจ หมอปุ๊ก Doctor For KidsXOSLOT จึงมีคำแนะนำดี ๆ มาฝาก โดยยกเคสของคุณแม่ท่านหนึ่งที่ลูกชายมีปัญหาการเรียน นำมาบอกเล่าแบ่งปันให้เห็นเป็นตัวอย่าง
หมอปุ๊กเล่ามีคุณแม่ท่านหนึ่งถามว่าลูกชายเรียนอยู่ชั้น ป.2 กาลังจะขึ้นชั้น ป.3 เป็นเด็กฉลาดเฉลียว ร่าเริงแจ่มใส เรียนรู้อะไรเร็ว ช่างพูดช่างคุย ช่างซักช่างถาม ช่วยเหลือตัวเองดี ดูแล้วก็เหมือนกับเด็กวัยประถมทั่วๆ ไป แต่มีปัญหาของลูกอยู่อย่างXO SLOTหนึ่งที่คุณแม่ไม่เข้าใจ ก็คือจะขึ้นชั้น ป.3 แล้ว ทำไมลูกถึงยังอ่านเขียนหนังสือไม่ได้เลย พยัญชนะไทย 44 ตัวก็ยังจำได้ไม่แม่น ไม่นับตัวสะกด ผันวรรณPGSLOTยุกต์ต่าง ๆ จำสับสนปนเปกันไปหมด
หมอปุ๊กได้กล่าวถึงปัญหาการเรียนของเด็กว่ามีสาเหตุหลัก 3 ด้าน คือ
1.จากตัวเด็กเอง เช่น โรคซน สมาธิสั้น โรคบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning disability) หรือแอลดี สติปัญญาบกพร่อง ปัญหาทางจิตใจอารมณ์ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า
2.จากครอบครัว เช่น การเลี้ยงดูไม่เอื้อต่อการเรียนของเด็ก รวมไปถึงขาดปัจจัยในการสนับสนุนการเรียน บรรยากาศครอบครัวเคร่งเครียด มีปัญหาความสัมพันธ์ในบ้าน
3.จากโรงเรียน สังคมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ตามวัย เช่น ระบบการเรียนการสอนของโรงเรียน คุณสมบัติ ความสามารถ และทักษะในการสอนของคุณครู ความสัมพันธ์กับคุณครูและเพื่อนที่โรงเรียน
สำหรับสาเหตุของปัญหาการเรียนที่หมอปุ๊กนึกถึงมากที่สุดสำหรับเคสนี้ ก็คือ “โรคบกพร่องทางการเรียนรู้ ” หรือ “แอลดี” ซึ่งคำกว่าแอลดีนี้เป็นคำเรียกรวมของความบกพร่องของทักษะ 3 ด้านในการเรียน นั่นคือ
- ทักษะการอ่าน
- ทักษะการเขียนและการสะกดคำ
- ทักษะการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์
หมอปุ๊กได้แนะนำให้คุณแม่พาลูกไปปรึกษาจิตแพทย์เด็กหรือกุมารแพทย์ เพื่อทำการประเมิน และวินิจฉัยสาเหตุของปัญหาการเรียนของลูก ซึ่งแพทย์จะมีขั้นตอนการดูแลและช่วยเหลือเด็ก โดยซักประวัติเพิ่มเติมจากคุณพ่อคุณแม่ คนในครอบครัวที่เกี่ยวขัองกับเด็กและตัวเด็ก ตรวจร่างกาย ตรวจประเมินสภาพจิตใจของเด็ก และขอข้อมูลปัญหาการเรียนของเด็กจากคุณครู
ตามมาตรฐานการวินิจฉัยโรคแอลดีจะต้องตรวจประเมินระดับสติปัญญาร่วมกับตรวจแบบทดสอบประเมินความถูกต้องในการอ่านและสะกดคำ (Wide- Range -Achievement test) ฉบับภาษาไทย ซึ่งทำโดยนักจิตวิทยาคลินิก นอกจากนี้ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการช่วยเหลือเด็กโรคแอลดี ก็คือ เด็กแอลดีอาจจะมีภาวะอื่นๆเกิดร่วมด้วย เช่น โรคซน สมาธิสั้น โรควิตกกังวล การขาดแรงจูงใจในการเรียน หรือการมองเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำกว่าความเป็นจริง ฯลฯ ซึ่งภาวะที่พบร่วมเหล่านี้ควรได้รับการช่วยเหลือ ช่วยแก้ปัญหาให้เด็กไปพร้อมๆ กับการช่วยเหลือทางด้านการเรียน ผลการรักษาจึงจะครอบคลุมและได้ผลดีที่สุด
หมอปุ๊กกล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับเด็กแล้ว การเรียนเป็นเรื่องสำคัญลำดับต้นๆ ต่อการวางรากฐานชีวิตในอนาคตของเด็กคนหนึ่งเลยทีเดียว ไม่จำเป็นที่เด็กจะต้องแข่งขันกันเรียนอย่างเอาเป็นเอาตายให้ได้ที่หนึ่งในระดับโรงเรียนหรือระดับประเทศ เด็กทุกคนไม่จำเป็นต้องเก่งวิชาการขนาดนั้น แต่หากเด็กคนใดจะเรียนได้ดีระดับนั้นโดยมีความสุขในการเรียน นั่นก็เป็นเรื่องที่น่ายินดี น่าชื่นใจของพ่อแม่ แต่เด็กทุกคนต้องสามารถเรียนรู้ มีทักษะพื้นฐานในการอ่านเขียน การค้นคว้า การคิดวิเคราะห์เหตุผล เพื่อจะได้ต่อยอดหาความรู้ในสายงานต่างๆ ตามความถนัดความชอบต่อไป เมื่อพบว่าเด็กมีปัญหาการเรียนตั้งแต่วัยเด็กเล็ก วัยประถม พ่อแม่และครูก็ไม่ควรเพิกเฉยหรือปล่อยปละละเลย คิดว่าเด็กยังเล็ก สำนวนที่ยาวขึ้นนั้นดีเพราะทำให้ลูกของคุณแก้ปัญหาด้านการศึกษาได้ยากขึ้น คุณควรพบผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งช่วยให้สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาได้ทันทีและสมบูรณ์ เด็กทุกคนในครอบครัวและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ
Be the first to comment