เคล็ดลับ “กระโดดเชือก” อย่างไรไม่ให้ปวดเข่า

การกระโดดเชือกเป็นหนึ่งในกีฬาที่ง่ายและมีประสิทธิภาพที่หลายคนกำลังฝึกอยู่ในปัจจุบัน อุปกรณ์เหล่านี้มีราคาไม่แพง ใช้พื้นที่ไม่มาก และพกพาสะดวกที่บ้าน โดยไม่คำนึงถึงเพศและอายุ (เว้นแต่พ่อแม่หลายคนจะรู้จักวิธีกระโดด)

เรามาดูกันว่า การกระโดดเชือก สล็อต เว็บตรงไม่ผ่านเอเย่นต์มีข้อดีอะไรต่อร่างกายบ้าง และกระโดดเชือกอย่างไรไม่ให้เจ็บเข่าระหว่าง-หลังเล่น

ข้อดีของการกระโดดเชือก

โรงพยาบาลเปาโล ระบุประโยชน์ของการPGSLOTกระโดดเชือกเอาไว้ ดังนี้

  1. การกระโดดเชือกเป็นการออกกำลังกายประเภทแอโรบิกที่ใช้กล้ามเนื้อ แขน ขา อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทำให้กล้ามเนื้อแขน ขา แข็งแรง
  2. ทำให้หัวใจเต้นช้าลง สูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงร่างกายได้ครั้งละปริมาณมาก ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทำงานของระบบหมุนเวียนโลหิต
  3. ทำให้ปอดขยายใหญ่ และกักเก็บออกซิเจนได้มากขึ้น
  4. ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ อาทิ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดัน และไขมันในเลือด เป็นต้น

คำแนะนำสำหรับผู้ที่เริ่มกระโดดเชือก

ท่าในการกระโดดเชือกที่ถูกต้อง

  1. ยืนตัวตรง หลังตรง ตามองไปข้างหน้า
  2. ยืนเขย่งเปิดส้นเท้าเล็กน้อย เพื่อให้ส่วนของจมูกเท้าทั้งสองข้างเป็นจุดรับน้ำหนักตัว
  3. งอเข่าเล็กน้อย จะช่วยดูดซับแรงกระแทกจากการกระโดด
  4. เทคนิคการแกว่งเชือก จะใช้แค่การหมุนข้อมือเป็นหลัก โดยข้อศอกต้องอยู่ใกล้ลำตัวตลอดเวลา และไม่ใช้หัวไหล่ในการออกแรงเหวี่ยงเชือก
  5. เริ่มกระโดดเท้าคู่ และกระโดดให้ต่ำที่สุด เพื่อให้เชือกลอดผ่านไปได้เท่านั้น
  6. ควรเริ่มกระโดดแค่ 3-5 นาที ใน 1-2 อาทิตย์แรก เพื่อให้ร่างกายปรับตัว จากนั้นค่อยๆ เพิ่มเวลาให้มากขึ้นทีละนิด

งานสร้างเสริมสุขภาพ รพ.ศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ระบุว่า การกระโดดเชือกเพื่อลดรู้สึกเมื่อยล้า อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น สามารถทำได้โดย กระโดดเชือกให้ได้ 30 ครั้ง เมื่อกระโดดเสร็จแล้ว ให้ยืนนิ่งๆ และหายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆ นับเป็น 1 เซ็ต ทำทั้งหมด 3 เซ็ต หากใครไม่มีXO SLOTเชือก ก็กระโดดอยู่กับที่ได้เช่นกัน

ประยุทธ มหากิจศิริ นายกสมาคมกระโดดเชือก ประเทศไทย ระบุว่า สำหรับผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกกำลังมาก่อน ไม่ควรกระโดดต่อเนื่องทีเดียว แต่ให้กระโดดติดต่อกันแค่ 1 นาที สลับด้วยการพัก 1 นาที จากนั้นจึงค่อยๆ เพิ่มเวลารวมที่ใช้กระโดดให้ได้มากขึ้น และลดเวลาที่พักลง เพื่อให้ร่างกายได้ค่อยๆ ปรับตัว และลดอาการบาดเจ็บ

กระโดดเชือกอย่างไรไม่ให้เจ็บเข่า

  1. ขยับ วอล์มร่างกายก่อนเริ่มกระโดดให้ดี
  2. ลงน้ำหนักเท้าเบาๆ
  3. ใส่รองเท้าผ้าใบที่พื้นหนา รองรับแรงกระแทกได้ดี
  4. อย่าเพิ่งกระโดดเชือกเร็วจนเกินไป หากยังกระโดดได้ไม่คล่อง
  5. กระโดดไม่ต้องสูง แค่พอให้พ้นเชือก
  6. กระโดดบนพื้นหญ้า หรือเสื่อออกกำลังกาย พื้นสนามกีฬา พื้นยิม เพื่อช่วยรองรับแรงกระแทกกับพื้น หลีกเลี่ยงการกระโดดบนพื้นคอนกรีตแข็ง

หลายคนลังเลที่จะข้ามสิ่งนี้และฝึกฝน ข้อมูลจากกุมารแพทย์และแพทย์ผิวหนัง ธิดากาญจน์ รุจิพนากุล หรือ นพ. ปิง โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เนื่องจากกลัวอาการปวดเข่า ในหน้า Health Books แนะการกระโดดเชือกโดยไม่ทำให้ปวดข้อ

Be the first to comment

Leave a Reply

Your email address will not be published.


*